วันเสาร์ที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2561

Abstract จาก www.eric.ed.gov 3 เรื่อง

เรื่องที่ 1
School Librarian as Inquisitor of Practice:
Reimagine, Reflect, and React with the New Standards
Burns, Elizabeth
Knowledge Quest, v46 n4 p54-58 Mar-Apr 2018
The modern school library is a complex social setting "grounded in standards and best practice" (AASL 2018). The new "National School Library Standards" have refreshed the student learning standards and aligned new Shared Foundations to the school library. Additionally, the competencies for learners are now complemented by competencies of effective school librarians. To be effective, school librarians must be aware of classroom pedagogy and possess a thoughtful disposition about their practice. Professional competence challenges school librarians to continuously monitor and self-assess while being receptive to professional growth. Ideally, school librarians are self-reflective. This reflective stance toward practice allows librarians to model the self-reflection process for learners and impact practice for greater student improvement. This articles presents how school librarians reimagine, reflect, and react with the new standards.
American Association of School Librarians. Available from: American Library Association. 50 East Huron Street, Chicago, IL 60611. Tel: 1-800-545-2433; Web site: http://knowledgequest.aasl.org/

เรื่องที่ 2
Building of Causality: A Future for School Librarianship Research and Practice
Mardis, Marcia A.; Kimmel, Sue C.; Pasquini, Laura A.
Knowledge Quest, v46 n4 p20-27 Mar-Apr 2018
The Colorado Study (Lance, Wellborn, and Hamilton-Pennell 1993) and its many replications in other states have demonstrated that when educators and learners had access to a qualified school librarian in the context of a thoughtfully built, adequately resourced, technology rich, and widely accessible school library, learners tended to flourish on traditional measures of reading and science achievement, regardless of the district or community's relative wealth and other external factors (Scholastic 2016). This correlational research has been vital for communicating the value of school librarians and school libraries to decision makers and other stakeholders. The Causality: School Libraries and Student Success II (CLASS II) project is aimed at establishing the foundation for comparison and groundwork for causal research. In this article, the authors share the CLASS research agenda and progress to date and demonstrate how this effort to chart the future of school librarianship research has the potential to guide and strengthen professional growth and implementation. The resulting knowledge is to help school librarians create meaningful, authentic learning experiences that impact and influence the next generation of learners.
Descriptors: School Libraries, Library Science, Research and Development, Theory Practice Relationship, Librarians, Correlation, Futures (of Society), Trend Analysis, Quasiexperimental Design, Problem Solving, Library Role, Librarian Teacher Cooperation, Partnerships in Education, Outcomes of Education, Library Services
American Association of School Librarians. Available from: American Library Association. 50 East Huron Street, Chicago, IL 60611. Tel: 1-800-545-2433; Web site: http://knowledgequest.aasl.org/

เรื่องที่ 3
School Librarian, Teacher Collaborator, and Independent Learner: A Symbiosis for Equitable Education in an Alternative High School
Jaaskelainen, Kristal; Deneen, Musetta
Knowledge Quest, v46 n4 p49-52 Mar-Apr 2018
As the future arrives faster and faster one must ask continually, what do kids actually need from their formal education today and tomorrow? Continuous innovation of method and strategy must be integral to the practice of all teaching professionals. Equitable educators must take a look at the learners in front of them, when and where they stand, and address the needs of each individual. It has never been clearer that teachers cannot know what tomorrow holds for their students--yet they must be the wizards of the future. While they have no magic wand, the two critical opportunities made visible in this article are the processes to: (1) build powerfully honest relationships; and (2) teach students to be independent learners. Teacher collaboration with a future-thinking school librarian makes these processes possible and responsive in an alternative school setting. A struggling reader or literacy-averse high school student rarely walks into a library and browses for a book of choice that will then be read front to back independently. This article offers ways teachers can get high-interest, level-appropriate books into the hands of the students most in need of literacy skill development.
Descriptors: School Libraries, Librarians, Teacher Collaboration, Independent Study, Nontraditional Education, Futures (of Society), High School Students, Librarian Teacher Cooperation, Partnerships in Education, Library Role, Independent Reading, Learner Engagement, Reading Materials
American Association of School Librarians. Available from: American Library Association. 50 East Huron Street, Chicago, IL 60611. Tel: 1-800-545-2433; Web site: http://knowledgequest.aasl.org/

เรื่องที่ 4
UK Preparatory School Librarians' and Teachers' Design and Use of Reading Lists: A Qualitative Study of Approaches, Perceptions, and Content
Scott, Rebecca; Inskip, Charles
School Library Research, v20 2017
This paper reports the findings of a small-scale qualitative study that explored the perceptions of and approaches used by UK school librarians and teachers in the design and use of reading lists. The research question was: "What is the best way to construct reading lists to maximize their benefit in the school library or classroom?" The research strategy adopted for the study was thematic analysis. The data collected from five semi-structured interviews was analyzed and a thematic map produced. The analysis identified four key themes that shape construction of reading lists: content, user, purpose, and format. The content was selected using a range of methods, including patron-driven, literary merit, exclusion, textual variety, and curriculum. The user was central to the design with reading lists being parent-driven and pupil-centered. The purpose was situated within a wider reader-development curriculum. However, the participants perceived that the reading list was a less-effective method of reader development than face-to-face interaction with pupils. Four recommendations to improve practice in similar contexts are suggested. The conclusion reached was that UK preparatory school librarians' and teachers' construction of reading lists is a complex practice that attempts to balance pupils' reading for pleasure with their needs for literacy attainment.
Descriptors: Foreign Countries, Qualitative Research, Reading Lists, School Libraries, Classroom Techniques, Best Practices, Curriculum Design, Teacher Attitudes, Librarian Attitudes, Summer Programs, Reading Programs, Content Analysis, Behavioral Objectives, Library Role, User Needs (Information), Elementary Education, Semi Structured Interviews
American Association of School Librarians. Available from: American Library Association. 50 East Huron Street, Chicago, IL 60611. Tel: 800-545-2433; Web site: http://www.ala.org/aasl/slmr

วันเสาร์ที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2561




เล่มที่   1




Title
การดำเนินงานห้องสมุดมีชีวิตในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาลำพูน เขต 1
Title Alternative
Living library management in schools attached to the office of Lamphun educational area 1

Subject
Classification :.DDC: 020
Description
Abstract: การศึกษาวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาสภาพการดำเนินงานห้องสมุดมีชีวิตของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาลำพูน เขต1 ปีการศึกษา2550 กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาประกอบด้วยผู้บริหารและครูบรรณารักษ์ จำนวน 166 คนืเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามชนิดตรวจสอบรายการ แบบสอบถามชนิดมาตราส่วนประมาณค่าและแบบสอบถามปลายเปิด สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตราฐาน ผลการวิจัยพบว่า สภาพการดำเนินงานห้องสมุดมีชีวิตของโรงเรียน ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาลำพูน เขต 1 ภาพรวมมีการปฏิบัติในระดับมาก โดยในด้านการบริหารจัดการห้องสมุดมีชีวิต มีการปฏิบัติระดับมาก ในการจัดโครงสร้างการบริหารห้องสมุดมีชีวิต การกำหนดปฏิทินงานและการจัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการห้องสมุดมีชีวิต ปัญหาที่พบ คือโรงเรียนขาดแคลนบุคลากรที่จะปฏิบัติงานประจำห้องสมุด ครูบรรณารักษ์หรือผู้มีหน้าที่ดูแลรับผิดชอบงานห้องสมุดมีภาระในการสอนมากเกินไป แนวทางแก้ไข คือ ผู้บริหารควรจัดให้มีบุคลากรมาปฏิบัติหน้าที่ประจำห้องสมุด ในด้านการจัดทรัพยากรสารสนเทศ มีการปฏิบัติระดับมาก ในการใช้คอมพิวเตอร์บันทึกฐานข้อมูลสารสนเทศต่างๆเกี่ยวกับห้องสมุดมีชีวิต ปัญหาที่พบคือ งบประมาณสนับสนุนที่ได้รับการจัดสรรในการจัดการสารสนเทศ ไม่เพียงพอ แนวทางแก้ไข คือ โรงเรียนควรขอการสนับสนุนงบประมาณจากผู้ปกครอง ชุมชนและองค์กรต่างๆ ในด้านการบริการและจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ มีการปฏิบัติระดับมาก ในการจัดบริการประเภทต่างๆให้สอดคล้องกับหลักสูตรการใช้คอมพิวเตอร์สืบค้นข้อมูลและสารสนเทศ ปัญหาที่พบ คือ การขาดงบประมาณในการจัดหา สื่อ วัสดุ อุปกรณ์ให้มีคุณภาพและเพียงพอในการจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้อย่างหลากหลายและต่อเนื่อง แนวทางแก้ไข คือ การให้ผู้แทนชุมชนหรือผู้ปกครองเข้ามามีส่วนร่วมรับรู้และหาแนวทางแก้ไขร่วมกัน
Abstract: This research was aimed to study the state of Library Mangement in schools attached to the office of Lamphun Educational service 1,in the academic year of 2007.The sample were 166 of classroom teachers. The research tools were checklist,rating scale and openended questionnaires.The data were analyzed through the application of frequency,percentage,mean and standard deviation. The results of the research were revealed that the living library management in schools was rated at a high level.In living library management sector had a high level in structuring and living library administration,fixing schedule and forming the living library committees.The problem was lacking the personnel sector.The librarians had much more tasks of teaching.Therefore,the administrators should find the way to get personnels working in libraries. In managing information resourch was at a high level in using computers for recording all data informations of living libraries.The problem was lacking budget from the government for providing enough up-to-date printed materials.Therefore,there should be mannaged by way of charity activity or donated from government and private organization.In service and educational activities sector was at a high level,too.In many kinds of service were concerning educational curriculum and using computers searching knowledge information.For this problem was lacking budget to provide enough quality multimedia and mater ils for serving learning activities.In these cases of problem,there should have the participation of community or parents association to plan and find the properly methods for for the development of living libraries.
Publisher
มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง. สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
Address: ลำปาง
Email: webmaster_library_lpru@hotmail.co.th
Email: webmaster_library_lpru@hotmail.co.th
Role: ประธานกรรมการที่ปรึกษา
Role: กรรมการที่ปรึกษา
Date
Created: 2552
Modified: 2556-08-13
Issued: 2551
Type
วิทยานิพนธ์/Thesis
Format
application/pdf
Source
CallNumber: วจ 020 อ173ก
Language
tha
Coverage
ลำพูน
Rights
©copyrights มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง
RightsAccess:



เล่มที่ 2
Title
การบริหารห้องสมุดโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครพนมเขต 1 ในอำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม
Title Alternative
THE SCHOOL LIBRARY OPERATION UNDER I{AKHON PHANOM PRIMARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE 1 IN THATPHANOM DISTRICT, NAKHON PHANOM PROVINCE

Address: โรงเรียนบ้านฝั่งแดง อ.ธาตุพนม จ.นครพนม
Organization : มหาวิทยาลัยนครพนม
Subject
Classification :.DDC: 020
Description
Abstract: การบริหารห้องสมุดโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
Publisher
Nakorn Phanom University
Address: NAKHONPATHOM
Email: preecha0898423827@gmail.com
Role: มหาวิทยาลัยนครพนม
Date
Created: 2013
Modified: 2557-07-14
Issued: 2557-07-14
Type
งานวิจัย/Research report
Format
application/pdf
Source
สำนักวิทยบริการ ม.นครพนม
Language
tha
Rights
©copyrights มหาวิทยาลัยนครพนม
RightsAccess:




เล่มที่ 3
Title
รูปแบบการบริหารห้องสมุด 3 ดี ของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษายโสธร เขต 2
Title Alternative
The Model for Administration of 3-Good Library of the School under the Office of Yasothon Primary Educational Service Area 2

Classification :.DDC: 025.1
Description
Abstract: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยและพัฒนา มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหาและความต้องการพัฒนาการบริหารห้องสมุด 3 ดี ของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายโสธรเขต 2 2) เพื่อศึกษาแนวทางการบริหารห้องสมุด 3 ดี ของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายโสธรเขต 2 3) เพื่อสร้างรูปแบบการบริหารห้องสมุด 3 ดี ของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายโสธรเขต 2 และ 4) เพื่อนำเสนอรูปแบบการบริหารห้องสมุด 3 ดี ของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายโสธรเขต 2 การดำเนินการวิจัยแบ่งเป็น 4 ระยะ คือ ระยะที่ 1 ศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหาและความต้องการพัฒนาการบริหารห้องสมุด 3 ดี จากกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 191 คน โดยใช้แบบสอบถามความคิดเห็นแบบประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ 0.97 ระยะที่ 2 ศึกษาแนวทางการบริหารห้องสมุด 3 ดี จากกลุ่มเป้าหมายที่มีความเป็นเลิศด้านการบริหารห้องสมุด จำนวน 6 คน โดยใช้แบบสัมภาษณ์เชิงลึกอย่างมีโครงสร้าง ระยะที่ 3 สร้างรูปแบบการบริหารห้องสมุด 3 ดี จากการสังเคราะห์ผลการศึกษาระยะที่ 1และ 2 ร่างเป็นรูปแบบ พร้อมกับจัดทำคู่มือดำเนินการตามร่างรูปแบบและตรวจสอบโดยผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 5 คนและระยะที่ 4 นำเสนอรูปแบบการบริหารห้องสมุด 3 ดี โดยการประชุมกลุ่มสนทนาผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย จำนวน 17 คน เพื่อนำเสนอและประเมินความเหมาะสม ความเป็นไปได้ของรูปแบบและคู่มือดำเนินการตามรูปแบบการบริหารห้องสมุด 3 ดีของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายโสธรเขต 2 ผลการวิจัย พบว่า 1. ผลการศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหาและความต้องการพัฒนาการบริหารห้องสมุด 3 ดีของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายโสธรเขต 2 พบว่า สภาพการบริหารในภาพรวมมาตรฐานทุกด้านอยู่ในระดับมาก เมื่อแยกเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มีการปฏิบัติสูงสุด คือ ด้านผู้บริหาร ปัญหาในภาพรวมมาตรฐานทุกด้านอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อแยกเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มีปัญหามากที่สุด คือ ด้านทรัพยากรสารสนเทศ ความต้องการพัฒนาในภาพรวมมาตรฐานทุกด้านอยู่ในระดับมาก เมื่อแยกเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มีความต้องการพัฒนามากที่สุด คือ ด้านทรัพยากรสารสนเทศ 2. ผลการศึกษาแนวทางการบริหารห้องสมุด 3 ดี พบว่า รูปแบบที่เหมาะสมต่อการบริหารห้องสมุด 3 ดี ได้แก่ ใช้หลักการบริหารแบบมีส่วนร่วมของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ผู้บริหารให้ความสำคัญในการบริหารและการดำเนินการ ห้องสมุดมีบรรยากาศน่าเข้าใช้ มีสื่อเพียงพอและจัดกิจกรรมสอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน 3. ผลการสร้างรูปแบบการบริหารห้องสมุด 3 ดี พบว่า ร่างรูปแบบการบริหารห้องสมุด 3 ดี ประกอบด้วย 6 องค์ประกอบใหญ่และประเด็นย่อย 55 ข้อ ได้แก่ 1) วัตถุประสงค์ของรูปแบบจำนวน 3 ข้อ 2) หลักการของรูปแบบ จำนวน 4 ข้อ 3) ระบบและกลไกของรูปแบบ จำนวน 4 ข้อ 4) วิธีการดำเนินงานของรูปแบบ จำนวน 36 ข้อ 5) แนวทางการประเมินผลของรูปแบบจำนวน 3 ข้อ และ 6) เงื่อนไขของรูปแบบ จำนวน 5 ข้อ ด้านผลการวิเคราะห์ความเหมาะสมของรูปแบบในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ส่วนความเป็นไปได้ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ด้านความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของคู่มือดำเนินการตามร่างรูปแบบในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ด้านข้อเสนอแนะ ผู้เชี่ยวชาญให้ปรับปรุงแก้ไขประเด็นที่มีหลักการซ้อนกันและแก้ไขข้อความที่มีการฉีกคำเพื่อให้มีความชัดเจนและสมบูรณ์ยิ่งขึ้น 4. ผลการนำเสนอรูปแบบการบริหารห้องสมุด 3 ดีของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายโสธรเขต 2 ต่อที่ประชุมกลุ่มสนทนาผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย พบว่า ผลการวิเคราะห์ความเหมาะสมของรูปแบบในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ส่วนความเป็นไปได้ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ด้านความเหมาะสม ความเป็นไปได้ ของคู่มือดำเนินการตามรูปแบบในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ด้านความคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกล่าวสนับสนุนรูปแบบการบริหารห้องสมุด 3 ดี ที่ใช้หลักการบริหารแบบมีส่วนร่วมและเสนอแนะให้เพิ่มเติมองค์ความรู้ลงในคู่มือดำเนินการตามรูปแบบเพื่อให้เกิดความเข้าใจยิ่งขึ้นในการนำไปปฏิบัติThe purposes of this research and development were to 1) investigate the current state, problems, and need in developing the 3-Good Library of the school under the Office of Yasothon Primary Educational Service Area 2, 2) examine the guidelines for developing the 3-Good Library of the school, 3) construct model for the administration of the 3-Good Library of the school, and 4) propose the constructed model of the 3-Good Library of the school. The research was carried out in 4 phases. Phase 1 investigated the current state, problems, and need in developing the 3-Good Library of the school. A total of 191 respondents were surveyed by a 5-point rating scale questionnaire yielding the reliability of 0.97. Phase 2 studied the guidelines for administering the 3-Good Library from 6 participants of the best practiced-libraries using structured-in-depth interviews. Phase 3 constructed the model of the 3-Good Library and the model manual using 5 experts. Phase 4 proposed the constructed model to 17 stakeholders through a focus group discussion for assessing the model’s and its manual’s suitability and possibility. The research findings were as follows: 1. The investigation of the current state in developing the 3-Good Library showed a high level in the overall and individual aspects of the administrative state. Individually, the administrator aspect was found to be highly practiced. The problems were at a moderate level of which the information system resource aspect was the most problematic. The need was at a high level, and the need in developing the information system resource aspect was the most desirable. 2. The participation of the involved bodies, the administrators being aware of the importance of library administration and service, the library having good atmosphere, and provision of sufficient instrument and activities meeting the need of library users were found to be the important guidelines for administering the 3-Good Library. 3. The constructed model of the 3-Good Library of the school consisted of 6 major and 55 minor components. The major components included 1) Objectives, 2) Principles, 3) System and Mechanics, 4) Work Operation, 5) Evaluation Guidelines, and 6) Success Conditions. The overall suitability and possibility of the model were at a higher level. Those of the overall manual were at the highest level. The repetition and incomplete statements were improved following the experts’ advice. 4. The experts were found to believe that the constructed model was at the highest level in its overall suitability and at a higher level for the possibility. The overall suitability and possibility of the manual were at a higher level. The stakeholders suggested that participatory administration of the 3-Good Library be included in the model and subsequently put into the manual as well.
Publisher
มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี. สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
Address: อุบลราชธานี
Email: info.lib@ubru.ac.th
Role: ประธานกรรมการ
Date
Created: 2556
Modified: 2559-02-12
Issued: 2557-12-18
Type
วิทยานิพนธ์/Thesis
Format
application/pdf
Language
tha
Coverage
Spatial: ไทย
Rights
©copyrights มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
RightsAccess
:








ตัวอย่างวิทยานิพนธ์การบริหารงานห้องสมุด

เพลินพิศ โคตรทองหลาง. (2554) การบริหารและการบริการของห้องสมุดโรงเรียนมัธยมศึกษาสังกัดสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษาอุดรธานี เขต 2 . มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช/นนทบุรี.

ชื่อวิทยานิพนธ์ การบริหารและการบริการของห้องสมุดโรงเรียนมัธยมศึกษาสังกดัส านักงานเขตพื้นที่ การศึกษาอุดรธานีเขต 2 ผ้วิจัย ู นางเพลินพิศ โคตรทองหลาง รหัสนักศึกษา 2491000358 ปริญญา ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (สารสนเทศศาสตร์) อาจารย์ที่ปรึกษา (1)รองศาสตราจารย์ ดร. ทัศนา หาญพล (2) รองศาสตราจารย์ ดร. ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์ (3) อาจารย์วิลัย สตงคุณห์ ปี การศึกษา 2554 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบการบริหารและบริการของห้องสมุดโรงเรียน ระดับมัธยมศึกษา สังกดส านักงานเขตพื ั ้นที่การศึกษาอุดรธานี เขต 2 กลุ่มตัวอยางที่ใช้ในการวิจัยในครั ่ ้งนี้ คือ ผู้บริหาร ครู และนักเรียนโรงเรียนมัธยมศึกษาที่เปิ ดสอนใน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 ถึง มัธยมศึกษาปี ที่ 6 สังกดส านักงานเขตพื ั ้นที่การศึกษาอุดรธานี เขต 2 ปี การศึกษา 2553 จ านวน 647 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็ นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบวา (1) ผู้บริหาร ครู มีความคิดเห็นเก ่ ี่ ยวกบการบริหารและบริการของห้องสมุดโรงเรียน ั แตกต่างกน โดยผู้บริหารมีความเห็นอยู ั ในระดับปานกลาง ส ่ ่วนความคิดเห็นของครูอยูในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็ น ่ รายข้อพบว่าทั้งผู้บริหารและครูมีความคิดเห็นระดับมากตรงกน 2 ข้อ คือ การวางแผนและนโยบาย และบุคลากร ั เมื่อวิเคราะห์ทั้ง 7 ด้าน โดยรวมอยูระดับปานกลาง แต ่ ่มีระดับมากในทุกด้าน คือนโยบายส่งเสริมการอ่าน การพัฒนา เทคโนโลยีและการจัดท ารายงานผลการปฏิบัติงานประจ าปี ความมีจิตบริการ การให้ความเสมอภาคในการให้บริการ บรรณารักษศาสตร์ผานการอบรมด้านห้องสมุด ที่ตั ่ ้งของห้องสมุดมีความเหมาะสมแสงสว่างเพียงพอในการอ่าน หนังสือ มีอุณหภูมิและการถ่ายเทของอากาศเหมาะสม หนังสือพิมพ์ มีจ านวนเพียงพอต่อการให้บริ การและมี ทรัพยากรสารสนเทศหลากหลายประเภทให้บริการ มีบริการจองใช้ห้องสมุด และมีบริการยืม-คืนหนังสือทัวไป ่ สะดวกรวดเร็ว ความคิดเห็นของนักเรียนโดยรวมทุกด้านอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อวิเคราะห์เป็ นรายข้อทั้ง 5 ด้าน พบวา มีระดับมาก ดังนี ่ ้ บุคคลากรมีบุคลิกภาพและมนุษยสัมพันธ์ดี ห้องสมุดมีปริมาณพื้นที่เพียงพอต่อการให้บริการ การตกแต่งทั้งภายในและภายนอกดึงดูดความสนใจให้เข้าใช้บริ การ และที่ตั้งของห้องสมุดมีความเหมาะสม ทรัพยากรสารสนเทศอยู่ในสภาพที่ดีพร้อมใช้งานและหนังสือพิมพ์ มีจ านวนเพียงพอ ด้านบริการอยูในระดับน้อย ่ 2 ข้อ คือ การให้บริการในระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตและสคูลเน็ตมีประสิทธิภาพและผู้ใช้ได้รับค าตอบถูกต้อง (2) ผลการเปรียบเทียบ พบวา ครูแต ่ ่ละกลุ่มสาระวิชามีความคิดเห็นแตกต่างกนอย ั างมีนัยส าคัญที่ระดับ .05 จ านวน 5 ่ ด้าน คือด้านด้านบุคลากร ด้านอาคารสถานที่และครุภัณฑ์ ด้านทรัพยากรสารสนเทศ ด้านงานเทคโนโลยีและ นวัตกรรม ด้านการบริการ ครูกลุ่มสาระวิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ มีความคิดเห็นวาเหมาะสมแล้วแตกต ่ ่างจากครู กลุ่มสาระวิชาอื่นๆ (3) ผลการเปรียบเทียบ นักเรียนระดับมัธยมศึกษา มีความคิดเห็นแตกต่างกนอย ั างมีนัยส าคัญที่ ่ ระดับ .05 จ านวน3 ด้าน คือ ด้านบุคลากร ด้านอาคารสถานที่และครุภัณฑ์ ด้านงานเทคโนโลยีและนวัตกรรม นักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 มีความคิดเห็นแตกต่างจากชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 และ 6 ทุกด้าน ค าส าคัญ การบริหารและการบริการของห้องสมุดโรงเรียนมัธยมศึกษา ห้องสมุดโรงเรียน การใช้ห้องสมุดโรงเรียน




Abstract จาก www.eric.ed.gov 3 เรื่อง

เรื่องที่ 1 School Librarian as Inquisitor of Practice: Reimagine, Reflect, and React with the New Standards Burns, Elizabeth Knowle...